วันจันทร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 17

วันอาทิตย์ ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2554
อาจารย์มีการนัดสอบสอน การสอนบูรณาการทางคณิตศาสตร์ สอนเรื่องการแยกประเภท ระหว่างอุปกรณ์ทีใช้เขียนกับ อุปกรณ์ที่ไม่ใช้เขียน

วันศุกร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 16

วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554
เกมการศึกษาที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ ให้วิเคราะห์เรื่อง - ขอบข่าย
- วิธีการเล่น
- เป็นเกมการศึกษาประเภทใด
ทดลองตัวอย่างการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย เช่น
การแบ่งแยกประเภทของดินสอกับไม่ใช่ดินสอ (ในการสอนแต่ละคร้ังเมื่อไหร่ที่มีจำนวนนับครูจะต้องวางสิ่งของจากทางซ้ายไปหาทางขวา เพราะว่าการเขียนหนังสือนั้นเราเริ่มจากการเขียนทางขวาไป)
ตัวอย่างการสอนแบบแผนภูมิ

บันทึกครั้งที่ 15

วันพฤหัสบดี ที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554
วิเคราะห์เกมการศึกษาของตนเองและของเพื่อนในห้อง วิเคราะห์ขอบข่าย วิธีการเล่น
มีการสนทนา มีการสนทนาซักถามในห้องเรียน

เกม จับคู่ภาพ ด้านข้าง ด้านหลัง ด้านหน้า
เกม จับคู่จำนวนปลาที่จำนวนเหมือน
เกม เป็นเรื่องของอนุกรม
เกม จับคู่รอยเท้าของสัตว์


วันพฤหัสบดีที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 14

วันพฤหัสบดีที่ 3 กุมภาพันธ์ 2554
สาระที่สำคัญทางคณิตศาสตร์
สาระสำคัญทางคณิตสาสตร์เป็นหลักการปลูกฝังให้แก่เด็ก ผู้สอนจะต้องศึกษาสาระสำคัญทางคณิตศาสตร์ของแต่ละสาระ ในกรอบของมาตราบานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัยและเพื่อให้เข้าใจตรงกัน จึงได้รวบรวมสาระทางคณิตศาสตร์ระดับปฐมวัยไว้ดังนี้
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
- จำนวนนับใช้บอกจำนวนของสิ่งต่างๆ
- จำนวนนับ 1 2 3 4 5....เป็นจำนวนที่นับเพิ่มขึ้นที่ละหนึ่งตามลำดับ
- ศูนย์ไม่ใช่จำนวนนับ
ตัวเลขที่เป็นสัญลักษณ์
สาระที่ 2 การวัดความยาวของสิ่งของต่างๆเป็นการหาความยาวตามแนวนอน การวัดความรู้เป็นการหาค่าความยาวของแนวตั้ง
การวัดความยาวความสูงของสิ่งของต่างๆอาจจะมีเครื่องมือหน่วยวัดที่มีหน่วยม่ใช่มาตราฐาน ยาวกว่า สั้นกว่า สูงกว่า เตี้ยกว่า ยาวเท่ากัน สูงเท่ากัน เป็นคำที่ใช้ในการเปรียบเทียบความยาวความสูงของสิ่งของ
การเรียงลำดับความยาวความสูงอาจเรียงจากน้อยไปหามากหรือมากไปหาน้อย
การชั่งน้ำของสิ่งของต่างๆอาจใช้เครื่องวัดชั่งน้ำหนักที่มีหน่วยม่ใช่มาตราฐาน
การตวงของสิ่งของต่างๆอาจใช้เครื่องที่มีหน่วยม่ใช่หน่วยมาตราฐาน
ปริมาตรามากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับ เป็นคำที่ใช้ในการเปรียบเทียบปริมาตราของสิ่งต่างๆ
สาระที่ 3 เรขา
ข้างบน ข้างล่าง ข้างใน ข้างนอก ข้างหลัง ระหว่าง ข้างซ้าย ข้างขวา จะบอกตำแหน่งทิศทาง ระยะทาง

สาระที่ 4 พีชคณิค
แบบรูปที่มีความสัมพันธ์ที่แสดงลักษณะสำคัญร่วมของชุดของจำนวนรูปเรขาคณิต หรือสิ่งต่างๆ
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
การเก็บรวบรวมข้อมูลอาจใช้วิธีการสังเกตหรือสอบถาม แผนภูมิรูปภาพเป็นการนำเสนอข้อมูลอย่างง่าย โดยใช้รูปภาพแสดงจำนวนของสิ่งต่างๆอาจวางรูปตามแนวนอนหรือแนวตั้งก็ได้

บันทึกครั้งที่ 13

วันพฤหัสบดีที่ 27 มกราคม 2554
1. ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน
2. ให้แต่ละกลุ่มคิดหน่วยที่จะจัดกิจกรรมใน 4 วัน
- วันจันทร์ จะเป็นเรื่องของลัษณะของหน่วยนั้นๆ บอกชื่อ ผิว สีเด็กสามารถแยกสีของหน่วยนั้นๆได้
- วันอังคาร เป็นเรื่องของส่วนประกอบ การแยกประเภท การนับจำนวน
- วันพุธ เรื่องของประโยชน์ โทษ
- วันพฤหัสบดี เรื่องของทำ cooking
3. ให้แต่ละกลุ่มเขียนเป็นแผนการจัดกิจกรรม